วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556


โครงการ “การพัฒนาสื่อการสอนด้วย  Photoshop
ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางสาวเจนจิรา  บุตรดา  รหัสนิสิต 53010518008  คณะศึกษาศาสตร์  สาขาจิตวิทยา
 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ที่ปรึกษาโครงการ
    รองศาสตราจารย์  ดร.ไชยยศ  เรื่องสุวรรณ
หลักการและเหตุผล
        ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของเรามาก  ไม่ว่าจะเป็นวัยเรียนหรือวัยทำงานก็มีความจำเป็นในการใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ทักษะการใช้โปรแกรมด้านการออกแบบกราฟิก เป็นทักษะที่หลายครูผู้สอนหรือหน่วยงานต่างๆ นำมาใช้ในการพัฒนาด้านการเรียนการสอนและการทำงาน ให้ได้เรียนรู้และนำมาประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ ในองค์กรและในด้านการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโปรแกรมที่ทรงประสิทธิภาพด้านการออกแบบ และสร้างงานกราฟฟิกในปัจจุบัน คือ โปรแกรม Adobe Photoshop ซึ่งมีการพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน 
    ดังนั้น โปรแกรม Adobe Photoshop จึงนัวว่ามีบทบาทสำคัญอย่างมากในการพัฒนาทางด้านการเรียนการสอนโดยเฉพาะในด้านการพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop และนำโปรแกรมมาประยุกต์ในด้านการเรียนการสอนต่างๆสำหรับเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 ไม่ว่าจะเป็น ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพื้นฐานการแสดงผลของภาพกราฟิกรวมถึงลักษณะของระบบการแสดงภาพ ประเภทของโหมดสี  และไฟล์ภาพประเภทต่าง ๆ ได้  สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับโปรแกรมด้านกราฟิกในการสร้างชิ้นงานได้อย่างเหมาะสมและเป็นการนำโปแกรมสำเร็จรูปเพื่อสร้างและตกแต่งภาพ โดยผู้เรียนจะสามารถศึกษาเนื้อหาในเรื่องส่วนประกอบของโปรแกรม การใช้เครื่องมือพื้นฐาน วาดภาพ ตบแต่งรูปภาพด้วยเครื่องมือแต่งสี สามารถตัดแต่งภาพเฉพาะส่วน ปรับแต่งรูปร่างให้กับรูปภาพ สร้างและนำข้อความมาใช้ในการตกแต่งรูปภาพ มีการสร้างเลเยอร์ และฟิลเตอร์ในการทำงาน
   ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในการใช้โปรแกรม Adobe Photoshopและสามารถนำไปประยุกต์เพื่อการทำงานต่าง ๆให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม ต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์  ใฝ่รู้ใฝ่เรียนนำความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมากราฟฟิกไปใประยุกต์ช้ในชีวิตประจำวันและนำความรู้ที่ได้เรียนมาไปช่วยเหลือผู้อื่นได้ต่อไป
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อศึกษาความหมายของโปรแกรมAdobe Photoshop  และการใช้งานของโปรแกรมการใช้แถบคำสั่งต่างๆเพื่อไปใช้ในการพัฒนาสื่อการสอน
2.เพื่อศึกษาถึงประโยชน์และข้อดีข้อเสียเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop 
3.เพื่อศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกียวกับการใช้โปรแกรม  Adobe Photoshop  ในการนำไปพัฒนารูปแบบสื่อการเรียนการสอน
4.เพื่อสำรวจการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม  Adobe Photoshop  กับครูกลุ่มเป้าหมาย

รายงานกิจกรรม
ระยะเวลา
ผู้รับผิดชอบ
1.วางแผนเกี่ยวกับการทำโครงการ / หาข้อมูลเพื่อ

นางสาวเจนจิรา  บุตรดา
2.ขออนุมัติโครงการ

นางสาวเจนจิรา  บุตรดา
3.ศึกษาตามจุดมุ่งหมายข้อที่1
     1.ศึกษาความหมายของโปรแกรมAdobe Photoshop  และการใช้งานของโปรแกรมการใช้แถบคำสั่งต่างๆเพื่อไปใช้ในการพัฒนาสื่อการสอน


3.ศึกษาตามจุดมุ่งหมายข้อที่ 2          2.เพื่อศึกษาถึงประโยชน์และข้อดีข้อเสียเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop 


นางสาวเจนจิรา  บุตรดา
3.ศึกษาตามจุดมุ่งหมายข้อที่ 3
    3. ศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกียวกับการใช้โปรแกรม  Adobe Photoshop 

นางสาวเจนจิรา  บุตรดา
4.ศึกษาตามจุดมุ่งหมายข้อที่ 4
   4.สำรวจการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม  Adobe Photoshop  กับครูที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย



5. สรุปผลและจัดทำรูปเล่ม

นางสาวเจนจิรา  บุตรดา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทราบความหมายของโปรแกรมAdobe Photoshop  และการใช้งานของโปรแกรมการใช้แถบคำสั่งต่างๆเพื่อไปใช้ในการพัฒนาสื่อการสอนได้
2.ทราบถึงประโยชน์และข้อดีข้อเสียเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop 
3.ทราบหลักการและทฤษฎีที่เกียวกับการใช้โปรแกรม  Adobe Photoshop เพื่อการนำไปพัฒนาสื่อการเรียนการสอนได้
4.ทราบผลการสำรวจการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม  Adobe Photoshop  กับครูกลุ่มเป้าหมายได้
ความหมายของโปรแกรม  Adobe Photoshop 
              โปรแกรม Photoshop  คือ โปรแกรมที่มีความสามารถในการออกแบบกราฟิก เพื่อนำไปใช้ร่วมกับงานในด้านต่าง ๆ เช่น งานกราฟิกที่เกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ทุกประเภท งานกราฟิกบนเว็บไซต์และการตกแต่งภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นโปรแกรมที่มีผู้นิยมนำมาใช้ในการออกแบบและตกแต่งภาพถ่ายกันมากที่สุด      Photoshop เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพและ การตกแต่งภาพที่กำลังเป็นที่นิยมอย่างสูงสุด ในปัจจุบันเนื่องจากเป็นโปรแกรมที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผลงานที่ได้เหมาะที่จะใช้กับงานสิ่งพิมพ์ นิตยสารงานมัลติมิเดียและสร้างกราฟิกสำหรับเว็บที่นับวัน กำลังพัฒนาไปอย่างไม่หยุดยั้ง และถึงแม้ว่า Photoshop จะเป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูง แต่การใช้งานกลับไม่ยาก อย่างที่หลายคนคิด เราสามารถเรียนรู้การใช้งานในโปรแกรม Photoshop ได้อย่างรวดเร็ว แม้ว่าเราจะมีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ไม่มากก็ตาม
                 โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมในตระกูล Adobe ที่ใช้สำหรับตกแต่งภาพถ่ายและภาพกราฟฟิก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นงานด้านสิ่งพิมพ์ นิตยสาร และงานด้านมัลติมีเดีย อีกทั้งยังสามารถ retouching ตกแต่งภาพและการสร้างภาพ ซึ่งกำลังเป็นที่มนิยมสูงมากในขณะนี้ เราสามารถใช้โปรแกรม Photoshop ในการตกแต่งภาพ การใส่ Effect ต่าง ๆให้กับภาพ และตัวหนังสือ การทำภาพขาวดำ การทำภาพถ่ายเป็นภาพเขียน การนำภาพมารวมกัน การ Retouch ตกแต่งภาพต่าง
การใช้งานของโปรแกรมการใช้แถบคำสั่งต่างๆเพื่อไปใช้ในการพัฒนาสื่อการสอน
              โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมในตระกูล Adobe ที่ใช้สำหรับตกแต่งภาพถ่ายและภาพกราฟฟิก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นงานด้านสิ่งพิมพ์ นิตยสาร และงานด้านมัลติมีเดีย อีกทั้งยังสามารถ retouching ตกแต่งภาพและการสร้างภาพ ซึ่งกำลังเป็นที่มนิยมสูงมากในขณะนี้ เราสามารถใช้โปรแกรม Photoshop ในการตกแต่งภาพ การใส่ Effect ต่าง ๆให้กับภาพ และตัวหนังสือ การทำภาพขาวดำ การทำภาพถ่ายเป็นภาพเขียน การนำภาพมารวมกัน การ Retouch ตกแต่งภาพต่าง



ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม
เริ่มเข้าสู่โปรแกรม Adobe Photoshop ได้ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
1.             Click mouse ที่ปุ่ม Start
2.             เลื่อนเมาส์เลือกคำสั่ง Programs --> Adobe Photoshop
3.            
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/monitor.gifClick mouse ที่ Adobe Photoshop จะปรากฏหน้าจอแรกของ Photoshop ขึ้น 










แถบเมนู (Menu Bar) คือแถบที่รวบรวมคำสั่งหลักทุกคำสั่งในการใช้งานโปรแกรม เช่น เปิด ปิด บันทึกไฟล์
Option Bar คือแถบตัวเลือกของเครื่องมือ ซึ่งปรากฏขึ้นเมื่อเลือกใช้เครื่องมือในกล่องเครื่องมือ (Toolbox) ใช้กำหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เลือกทำงานอยู่ในขณะนั้น
กล่องเครื่องมือ (Toolbox) คือกล่องเก็บเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการทำงาน เช่น เครื่องมือเกี่ยวกับการเลือกและแก้ไข
พาเลท (Palette) คือกลุ่มของหน้าต่างที่รวบรวมคุณสมบัติการทำงานของเครื่องมือ ช่วยควบคุมรายละเอียดปลีกย่อยในขั้นตอนการทำงาน
กระดานวาดภาพ (Canvas) เป็นพื้นที่สำหรับตกแต่งภาพ
 แถบเมนู (Menu Bar)
         เมนู File   ได้แก่
-New  เป็นคำสั่งสร้างไฟล์ใหม่
-Open  เป็นคำสั่งเปิดไฟล์กราฟิกส์ที่มีอยู่แล้ว
-Close  ปิดไฟล์ที่กำลังทำงานอยู่
-Save  บันทึกไฟล์ข้อมูลที่ทำงานอยู่ในชื่อเดิม
-Save As  บันทึกไฟล์ข้อมูลที่ทำงานอยู่ในชื่ออื่นเพื่อไม่ให้ทับไฟล์เดิม
             -Save a Copy  บันทึกไฟล์ข้อมูลที่ทำงานอยู่ในชื่ออื่น และ อาจเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ
             -Revert  เปลี่ยนไฟล์ที่กำลังทำงานอยู่ให้กลับไปเป็นไฟล์เดิม โดยโปรแกรมจะใช้ไฟล์ที่เรา    บันทึกไว้ล่าสุด คำสั่งนี้คล้ายๆ กับการทำ Undo นั่นเอง
-Import  ทำการอ่านข้อมูลจาก Scanner
-Export  ส่งงานจาก Photoshop ไปให้โปรแกรมอื่น เช่น Illustrator หรือ อาจส่งเป็นไฟล์แบบ GIF89A
-Preferences  กำหนดรายละเอียดของโปรแกรมตามต้องการ
 เมนู Edit   ได้แก่
-Cut  ทำการตัดเอาส่วนที่เลือกไว้ เก็บเข้าไปในหน่วยความจำที่เรียกว่า คลิปบอร์ด
-Copy  ทำการคัดลอกส่วนที่เลือกไว้ เก็บเข้าไปใน คลิปบอร์ด
-Paste  เอาภาพที่เก็บไว้คลิปบอร์ด ปะลงไปในภาพที่กำลังทำงานอยู่
-Paste Into  เอาภาพที่เก็บไว้คลิปบอร์ด ปะลงไปในส่วนของภาพที่เลือกไว้ (Selection)
-Clear  ลบภาพในพื้นที่ที่เลือกไว้ (Selection)
-Fill  เติทสีลงไปในพื้นที่ที่เลือกไว้
-Stroke  เติมสีลงไปเฉพาะตรงขอบของพื้นที่ที่เลือกไว้
-Free Transform  ทำการเปลี่ยนแปลงทิศทางและขนาดของภาพอย่างเสรี
-Transform  ทำการเปลี่ยนแปลงทิศทางและขนาดของภาพเฉพาะอย่าง
-Purge  ล้างหน่วยความจำที่ใช้เก็บภาพในคลิปบอร์ด ประวัติการทำงาน (history) เพื่อให้มีหน่วยความจำเหลือสำหรับพื้นที่ทำงาน มากขึ้น
เมนู Image  ได้แก่
-Mode  กำหนดโหมดสีที่จะใช้สำหรับภาพกราฟิกส์ เช่น สีแบบไล่เทา (Grayscale) หรือ แดง-เขียว-น้ำเงิน (RGB)
-Adjust  ปรับแต่งโทนสีของภาพ ความคมชัด ความเข้มของแสง ระดับของสี
-Duplicate  ทำสำเนาภาพขึ้นใช้งานอีกภาพหนึ่ง
-Image Size  ปรับแต่งขนาดและความละเอียดของภาพ
-Canvas Size  ปรับแต่ง/เพิ่ม พื้นที่ทำงานของภาพ
-Crop  กำจัดพื้นที่ทำงานนอกส่วนที่เลือก (Selection) ออกไป
-Rotate Canvas  ปรับเปลี่ยนทิศทางของภาพ
 เมนู Layer
-เป็นคำสั่งที่เกี่ยวกับการปรับแต่งภาพในแต่ละเลเยอร์ และการเรียงลำดับก่อนหลังของเลเยอร์
 เมนู Select  ได้แก่
-All  เลือกภาพทั้งหมด
-Deselect  ยกเลิกการเลือก
-Inverse  เลือกส่วนของภาพที่ไม่ได้ถูกเลือก พูดอีกแง่ก็คือ กลับส่วนที่เลือก/ไม่เลือก
-Color Range  ทำการเลือกส่วนของภาพตามสีที่ต้องการ
-Feather  ทำให้ขอบของส่วนที่เลือก (Selection) ดูนุ่มขึ้น
-Similar  เพิ่มขนาดของส่วนที่เลือก (Selection) จากสีที่ใกล้เคียงกัน
-Transform Selection  ปรับทิศทางของเส้น Selection
 เมนู Filter
-เป็นแถบคำสั่งที่เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนภาพอัตโนมัติ รวมทั้งคำสั่งเกี่ยวกับ ค่าลายน้ำ (Digimarc) ซึ่งถือเป็นการจดลิขสิทธิ์แสดงความเป็นเจ้าของภาพ ก็เป็นฟิลเตอร์หนึ่งที่อยู่ในเมนูนี้เช่นกัน
 เมนู View
-รวบรวมคำสั่งในการกำหนดมุมมองภาพในรูปแบบต่างๆ การย่อ-ขยาย รวมทั้งเรื่องการวัด Grid, Guide และไม้บรรทัดด้วย
 เมนู Window
              -รวบรวมคำสั่งที่เกี่ยวกับการจัดการหน้าต่างแต่ละหน้า ที่ปรากฏบนหน้าจอ รวมถึงหน้าต่าง  palette, Toolbox ด้วย เช่น คำสั่งแสดง (Show..) คำสั่งซ่อน (Hide..)
  เมนู Help
-รวบรวมคำสั่งที่เกี่ยวกับการแนะนำโปรแกรม Photoshop และการใช้งานโปรแกรม 
เครื่องมือในกล่อง Toolbox
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/marquee_g.jpg
  Marquee Tools เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเลือกพื้นที่ ของภาพตามต้องการ โดยมีให้เลือกโดยการคลิ๊กเม้าส์ค้างตรงรูปสามเหลี่ยมเล็กๆด้านข้าง โดยจะมีแบบให้ เลือก ทั้งสี่เหลี่ยม วงรี เส้นนอน เส้นตั้ง
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/move.jpg
  Move Tool  เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายภาพ หรือบนชั้น Layer ที่เรากำลังทำงานอยู่ไปในตำแหน่งต่างๆ
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/lasso_g.jpg
  
  Lasso Tools  เป็นอุกรณ์ที่ใช้ในการเลือกพื้น ที่การทำงานแบบอิสระโดยเริ่มจากพื้นที่จากจุดเริ่มจน วนมาพบกันอีกครั้ง โดยตัดในลักษณะใดก็ได้รูปแบบ ใดก็ได้..แล้วต้องกลับมาบรรจบที่จุดเริ่มต้นกันอีกครั้ง ซึ่งจะเกิดเส้น Selection ขึ้นมา 
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/magic.jpg
  
  Magic Wand Tool  เป็นอุปกรณ์ให้เลือกพื้นที่ การทำงานเช่นกันโดยจะเลือกพื้นที่ที่มีสีโทนเดียวกันหรือมีสีโทนคล้ายๆกัน..ใช้ในการสร้างเส้น.. Selcetion เฉพาะพื้นที่ 
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/crop.jpg
  Crop Tool   เป็นอุปกรณ์ในการเลือกพื้นที่ ที่ต้องการคงไว้ และตัดออก ซึ่งมีผลกับ Image size ด้วย
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/slice_g.jpg
  
  Slice Tool   เป็นอุปกรณ์ในการตัดรูปภาพออกเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วประกอบกันเป็น รูปภาพที่เหมาะสมในการแสดงบนเว็บ เมื่อตัดแล้วสามารถ Save เป็น HTML ได้ด้วย
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/healing_g.jpg
  Healing BrushTool   เป็นอุปกรณ์ใช้ในการแก้ไข ซ่อมแซมรูปภาพเป็นส่วนใหญ่ หลักการเดียวกับ อุปกรณ์ ( Clone stemp Tool )
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/brush_g.jpg
  Brush Tools   เป็นอุปกรณ์สำหรับการ วาดภาพและระบายสีซึ่งลักกษณะการใช้งานจริง ๆ จะมีให้เลือกใช้หลายตัว
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/stamp_g.jpg
  Clone stamp Tool  ลักษณะในการใช้ก็คล้าย กับตรายาง เป็นการคัดลอกชิ้นงานออกมา ลักษณะการใช้งานก็ไปคลิ๊กที่รูปภาพโดยให้กดปุ่ม Alt ค้างไว้ด้วยพูดอีกอย่างเป็นการโคลนนิ่งภาพนั้นเอง
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/historybrush_g.jpg
  History Brush Tools   เป็นอุปกรณ์สำหรับการ ลบรอยวาดภาพและระบายสีของอุปกรณ์ Brush Tools ที่เขียนลงบนภาพ
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/eraser_g.jpg
  Eraser Tool  ทำหน้าที่คล้าย..ยางลบนั้น แหละใช้ลบส่วนต่างๆของภาพที่เราไม่ต้องการ
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/gradient_g.jpg
  Linear Gradient Tool   เป็นการระบายสีภาพโดย การไล่เฉดสีที่เราต้องการเมื่อดับเบิ้ลคลิ๊กจะมีให้ เลือกหลายลักษณะตามที่เราต้องการ อุปกรณ์ถังสี ( Paint Bucket Tool ) ใช้ในการเท หรือละเลงสีระบายลง บนภาพหรือพื้นที่ที่ได้เลือกไว้ เหมาะกับการเทลงพื้นที่ขนาดกว้าง
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/blur_g.jpg

  Blur Tool   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับปรับค่า ความคมชัดของสีภาพ ซึ่งจะประกอบด้วย Blur, Sharpen เลือกโดยการคลิกเม้าค้างไว้
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/dodge_g.jpg

  Dodge Tool   ใช้ในการปรับค่าโทนสีของภาพให้สว่างหรือมืด ซึ่งจะมีเครื่องมือให้เลือกอีกคือ Dodge,Burn,Sponge
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/path_g.jpg
  Path Selection Tool   เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้โยกย้าย ปรับแต่งเส้น พาทที่สร้างจาก อุปกรณ์ปากกา ( Pen tool )
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/text_g.jpg
  Type Tool  เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญและใช้บ่อยด้วย ใช้สำหรับสร้างตักอักษรซึ่งสามารถนำมาจัดประกอบ ภาพได้ทันที โดยคุณสามารถเลือกสีได้ด้วยและมีให้ เลือก 2 แบบ ได้แก่ การสร้างตัวอักษรทึบและแบบ โปร่งเพื่อเติมสีทีหลังเหมาะสำหรับจะนำภาพ มาสร้างตัวอักษร
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/pen_g.jpg
  Pen tool   ใช้ในการสร้างเส้นภาพสำหรับวาดภาพซึ่งจะสร้างเส้นตรงก่อนแล้วดัดให้ โค้งตามต้องการ
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/shape_g.jpg
  Shape tool   เป็นอุปกรณ์สร้างรูปทรงต่างๆ มีให้เลือกมากมาย
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/note_g.jpg
  Notes Tool  อุปกรณ์เตือนความจำ เป็นอุปกรณ์บันทึกโน้ตย่อการทำงาน หรือจะบันทึกเสียงลงไปในโน้ตก็ทำได้
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/eyedropper_g.jpg
  Eyedropper Tool   เป็นเครื่องมือในการดูดสีที่มีอยู่ในภาพเพื่อนำสีนั้นไปใช้ในบริเวณอื่นโดยจะถือเป็น Foreground Corlor
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/hand.jpg

  Hand Tool   เป็นเครื่องมือใช้เลื่อนภาพบนจอ จะสามารถใช้ได้ก็ต่อเมื่อเราได้ขยายภาพล้นหน้าจอ แล้วเท่านั้น
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/zoom.jpg

  Zoom Tool   อุปกรณ์แว่นขยายใช้ในกรณีที่เราต้องการ ที่จะย่อ / ขยายภาพในจอ หรือ ขยายเพื่อจะได้ทำ ได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/icon-0017.gif
  อุปกรณ์ Foreground และ Background เป็นอุปกรณ์เลือกสี
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/im.jpg
  Jump to ImageReady เป็นอุปกรณ์ใช้ Jump ไปหาโปรแกรม ImageReady



การใช้พาเล็ต palette
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/palatte1.jpg
  • Navigator  ใช้ย่อขยายการแสดงผลขนาดไฟล์ภาพ โดยการเลื่อนปุ่มสามเหลี่ยมด้านล่างเพื่อซูมรายละเอียดของภาพ
  • Info  ใช้ในการแสดงค่าของสีขณะที่เรากำลังเลื่อนเมาส์ในบริเวณภาพ
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/palatte2.jpg
  • Color  เป็นการเลือกขนาดสี โดยการเลื่อนปุ่มสามเหลี่ยมด้านล่างในช่องสี R G และ B
  • Swatches  เป็นการเลือกสีมาใช้งานได้โดยคลิกเลือกสีตามต้องการ และสามารถลดและเพิ่มสีที่ต้องการได้
  • Styles  ใช้สำหรับสร้างลวดลายและรูปแบบให้กับภาพ โดยคลิกเมาส์ค้างไว้เลือกแบบที่ต้องการมาวางบนภาพ ลวดลายที่เราเลือกก็จะเข้ามาอยู่ในภาพ
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/palatte3.jpg
  • History  เป็นการบันทึกค่าการทำงานเก็บเอาไว้ หากเราทำงานผิดพลาดหรือย้อนกลับไปทำงานใหม่ก็สามารถย้อนกลับไปเลือกคำสั่งที่ต้องการได้
  • Actions  มีหน้าที่เก็บคำสั่งการทำงานอัตโนมัติ
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/palatte4.jpg

  • Layers  เราจะใช้พาเล็ตนี้ในการซ้อนภาพ แบ่งสัดส่วน และช่วยในการเปลี่ยนแปลงภาพให้สวยงามได้ง่ายขึ้น
  • Channels  หน้าที่ของพาเล็ตนี้คือการแยกสีของภาพออกมาตามประเภท
  • Paths  ใช้ในกรณีเราวาดภาพเอง หรือตกแต่งภาพแบบพิเศษ
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม
การสร้าง File ใหม่
1.             Click mouse ที่ปุ่มเมนู Flie -- > New หรือ กด Ctrl + n จะปรากฎไดอะล็อกบ็อกซ์ New ขึ้นมา
2.             พิมพ์ชื่อ File ในช่อง Name
3.             กำหนดความกว้างและความยาวให้กับไฟล์ภาพใหม่ที่ช่อง Width และ Height ค่าปกติเป็น Custom
4.             ช่อง Resolution กำหนดค่าความละเอียดของภาพ แนะนำให้ใช้เป็น 72 pixel/inch
5.             ช่อง Mode เลือกกำหนดโหมดสีของไฟล์ภาพ
§  Mode Bitmap เป็นการกำหนดให้มีการเก็บข้อมูลสีภาพ จะมีสีขาวและดำ ไม่มีการไล่ระดับสี
§  Mode Grayscale เป็นโหมดภาพขาวดำที่มีการไล่ระดับสี 256 ระดับ
§  Mode RGB Color เป็นการกำหนดสีที่มีแม่สีหลัก 3 สี คือ แดง เขียว น้ำเงิน
§  Mode CMYK Color เหมาะสำหรับจัดทำสิ่งพิมพ์
§  Mode Lab Color สำหรับนำไปใช้งานกับอีกระบบ
6.             ช่อง Contents เป็นการเลือกลักษณะของสีพื้นของภาพที่ต้องการ
§  White : พื้นของรูปจะมีสีขาว
§  Background Color : สีพื้นของรูปจะมีสีตามที่กำหนดไว้บน Tool box
§  Transparent : เป็นพื้นที่โปร่งใสไม่มีเนื้อหาหรือสีปรากฎ
7.             เสร็จแล้วคลิกปุ่ม OK

http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/u105.gif
 http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image/dot_topic.gifการเปิด File ที่มีอยู่แล้วขึ้นมาใช้งาน
1.             เลือกคำสั่ง File แล้วเลือก Open หรือ Ctrl + O จะปรากฎกรอบ Open แสดงแหล่งที่เก็บไฟล์ภาพ และ ขนาด ให้ผู้ใช้เลือกใช้งาน
2.             เลือก Folder ที่เก็บไฟล์จากช่อง Look in
3.             เลือกประเภทไฟล์ในช่อง Files of type
4.             คลิกเลือกชื่อไฟล์จากรายการหรือป้อนชื่อลงใน File name
5.             คลิกปุ่ม Open
http://www.rayongwit.ac.th/graphicweb/image_ps/u10910.gif

สรุปแบบสอบถามการสำรวจการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วย  Photoshop
ส่วนที่1  ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามการสำรวจการพัฒนาสื่อการสอนด้วย  Photoshop
1.เพศ
จำนวน
ร้อยละ
       ชาย


       หญิง


รวม
30
100
2.อายุ
จำนวน
ร้อยละ
       21-25 ปี


       25-30 ปี


       31-35 ปี


       36-40 ปี


       41-45 ปี


       46-50 ปี


       50 ปี ขึ้นไป


รวม
30
100
3.ระดับการศึกษา
จำนวน
ร้อยละ
        อนุปริญญาหรือเทียบเท่า


        ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า


        ปริญญาโท


        ปริญญาเอก


รวม
30
100
4.รายวิชาที่สอน
จำนวน
ร้อยละ
        ภาษาไทย


        วิทยาศาสตร์


        คณิตศาสตร์


ศิลปะ


        คอมพิวเตอร์


        เคมี


        คนตรี  นาฎศิลป์


        สุขศึกษาและพลศึกษา


        สังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม


        ภาษาต่างประเทศ


        การงานอาชีพและเทคโนโลยี


        ฟิสิกส์


        ชีววิทยา


รวม
30
100
5.ระดับชั้น
จำนวน
ร้อยละ
      มัธยมศึกษาปีที่  1


      มัธยมศึกษาปีที่  2


      มัธยมศึกษาปีที่  3


      มัธยมศึกษาปีที่  4


      มัธยมศึกษาปีที่  5


      มัธยมศึกษาปีที่  6


รวม
30
100
6.ประสบการณ์การสอนสำหรับครูผู้สอน
จำนวน
ร้อยละ
      น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี


      2-3 ปี


      มากกว่า 4 ปีขึ้นไป


รวม
30
100

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop ในการพัฒนาสื่อดารเรียนการสอนด้วย Photoshop
1.ท่านเคยใช้ดปรแกรม Adobe Photoshop หรือไม่
จำนวน
ร้อยละ
      เคยใช้


      ไม่เคยใช้


รวม
30
100
2.ท่านเคยใช้โปรแกรม Adobe Photoshopในการพัฒนาสื่อการเรียนการ
จำนวน
ร้อยละ
สอนหรือไม่


      เคยใช้


      ไม่เคยใช้
30
100
3.ท่านใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
จำนวน
ร้อยละ
       ในรูปแบบใดบ้าง


       สร้างภาพวาด


       การตกแต่งภาพถ่าย


       งานสิ่งพิมพ์


       การตัดภาพ


       งานออกแบบทางกราฟฟิก


       อื่นๆ…………...


รวม
30
100
4.ถ้าไม่มีดปรแกรม Adobe Photoshop ท่านใช้โปรแกรมอะไรในการผลิต
จำนวน
ร้อยละ
สื่อการเรียนการสอน


                                                                      -
0
0
รวม
0
0


ส่วนที่3 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจจากการใช้โปรแกรม  Adobe Photoshop ในการช่วยพัฒนาสื่อการเรียนการสอนซึ่งแบบสอบถามเป็นลักษณะมาตราส่วนประเมินค่า  โดยกำหนดคะแนนในแต่ละระดับ  ดังนี้
                                               ระดับ 5      หมายถึง         มากที่สุด
                                               ระดับ 4      หมายถึง         มาก
                                               ระดับ 3      หมายถึง        ปานกลาง
                                               ระดับ 2      หมายถึง        น้อย
                                               ระดับ 1      หมายถึง        น้อยที่สุด
       นำค่าเฉลี่ยของผลการทำแบบสอบถามความคิดเห็นการใช้โปรแกรมบทเรียนในการจัดการเรียนการสอนมาแปลความหมายเปรียบเทียบกับมาตราส่วนประมาณค่าเฉลี่ยดังนี้ (บุญส่ง นิลแก้ว,2530)
                                          4.50-5.00     หมายความว่า     ระดับมากที่สุด
                                          3.50-4.49      หมายความว่า    ระดับมาก
                                          2.50-3.49      หมายความว่า    ระดับปานกลาง
                                          1.50-2.49      หมายความว่า    ระดับน้อย
                                          1.00-1.49       หมายความว่า   ระดับน้อยที่สุด